ไทโอยูเรีย
Thiourea-สารอินทรีย์ไทโอยูเรีย
ไทโอยูเรีย (Thiourea; สูตรโครงสร้าง: SC(NH2)2) เป็นสารอินทรีย์ที่มีกำมะถันหรือออร์กาโนซัลเฟอร์ชนิดหนึ่ง โครงสร้างคล้ายกับยูเรีย ยกเว้นออกซิเจนอะตอมหนึ่งของยูเรียถูกแทนที่ด้วยกำมะถัน การออกฤทธิ์ของสารทั้งสองต่างกันมาก โดยไทโอยูเรียจะใช้เป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์สารเคมี ไทโอยูเรียมักจะหมายถึงกลุ่มของสารเคมีที่มีโครงสร้างทั่วไปเป็น (R1R2N)(R3R4N)C=S ไทโอยูเรียมีความเกี่ยวข้องกับไทโอเอมีนเมื่อ เช่น RC(S)NR2, เมื่อ R เป็น หมู่เมทิล, หมู่เอทิล ( THIOUREA Thiocarbamide - ไทโอยูเรีย เป็นของแข็งผลึกสีขาว ทั้งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และการสังเคราะห์ ซึ่งละลายได้ในน้ำ และสารละลายแอมโมเนียมไทโอไซยาเนต และเอทานอล ในอดีต ใช้เป็นสารปรับสีสำหรับการถ่ายภาพ ส่วนประกอบในการเตรียมน้ำยาสระผม และสารซักแห้ง ปัจจุบันใช้เฉพาะในของเหลวกาว และกำจัดคาบของเหลวที่่ปนเปื้อนที่เป็นอัตรายสำหรับสัตว์น้ำ และน้ำยาขจัดคราบเงิน เมื่อถูกความร้อนจนสลายตัว ไทโอยูเรียจะปดปล่อยควันพิษ จำพวกไนโตรเจนออกไซด์ และซัลเฟอร์ออกไซด์ การได้รับไทโอยูเรีย สำหรับในมนุษย์เป็นเวลานานอาจทำให้ไขกระดูกเสียหาย ส่งผลให้ระดับเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และหรือเกล็ดเลือดลดลง คาดว่าน่าจะเป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ )สารไทโอยูเรีย
สารไทโอยูเรีย (Thiourea) จัดเป็นอนุพันธ์ของยูเรีย (CS(NH2)2) เป็นสารที่ประสิทธิภาพในการกระตุ้นการแตกใบอ่อนได้สูง มีการทดลองใช้สารไทโอยูเรียทําให้ต้นลําไยมีเปอร์เซ็นต์การแตกตาใบทีสม่ำเสมอกันได้สูงกว่าสารโพแทสเซียม เซียมคลอเรต โพแทสเซียมไนเตรท และโซเดียมไฮโปคลอไรด์ไทโอยูเรีย ใช้ในทางการเกษตร ไทโอยูเรียจัดเป็นสารสังเคราะห์ ที่มีฤทธิ์กระตุ้นการงอกของเมล็ดและเร่งการออกดอกและการแตกตาอ่อน เช่น เมื่อแช่ในในไทโอยูเรีย จะกระตุ้นการงอกของเมล็ดมะเขือเปราะ การฉีดพ่นสารละลายไทโอยูเรียทางใบช่วยให้ส้มโอออกดอกได้มากขึ้น
ไทโอยูเรีย-ลำไย
ไทโอยูเรียใช้ กับลำไย สารบวกครู่ ใช้โซเดียม จำนวน 350-500 กรัม ไทโอยูเรีย จำนวน 350 -650 กิโลกรัม ฉีดพ่นเร่งดออกลำไย ฉีดพ่นสองรอบ ห่างระยะเวลา 5-7 วันไทโอยูเรีย-เงาะพันธุ์โรงเรียน
ไทโอยูเรียกระตุ้นการแตกตาในเงาะพันธุ์โรงเรียน ทีขนาดทรงพุ่มสม่ำเสมอ อายุประมาณ 3 ปี จํานวน 20 ต้น โดยตัดแต่งกิ่งและ รอให้ใบในชุดที 1 แตกออกมาจนใบเงาะแก่เต็มทีจึงฉีดพ่นสารไทโอยูเรียความเข้มข้น 0, 0.125, 0.25,0.50 และ 0.75 เปอร์เซ็นต์ สารไทโอยูเรียที ่มีความเหมาะสมต่อการกระตุ้นให้เกิดการแตกตา การเพิ่มขึ้นของจำนวนใบ พื้นทีใบ และไม่ำให้เงาะเกิดอาการใบไหม้อัตราการเจริญเติบโตสัมพัทธ์ และความยาวยอดไม่ผิดปกติไทโอยูเรีย-มะม่วง
ไทโอยูเรียใช้ กับมะม่วง มะม่วงที่ออกดอกไม่พร้อมกัน ออกกะปริดกะปรอย ใช้การดึงตาดอกด้วยการฉีดพ่นสารไทโอยูเรีย สามารถกระตุ้นการแตกใบอ่อนมังคุดได้ภายในระยะเวลา 7 วัน ทําให้ใบแก่ได้เร็วขึ้นจนสามารถพัฒนาไปเป็นตาดอกพร้อมทีจะออกดอกนอกฤดูได้งได้ การนําสารไทโอยูเรีย (Thiourea) มาช่วยกระตุ้นให้เกิดการแตกตาไทโอยูเรีย-ทุเรียน
ไทโอยูเรีย กับทุเรียน ความเข้มข้น 1500 ppm ( 30 กรัม/น้ำ 20 ลิตร)ฉีดพ่นที่ใต้บริเวณท้องกิ่ง โปรดศีกษารายเอียดแนวทางขั้นตอนเพิ่มเติม..ไทโอยูเรียกับทุเรียน ไทโอยูเรียกับมะกรูด มะนาว ดอกมะนาวที่เกิดจากกิ่งที่ไม่มีใบ ดอกมะนาวในกลุ่มนี้นับเป็นดอกที่มีคุณภาพเลว ดอกประเภทนี้มักจะเกิดจากการปลิดใบมะนาวให้ร่วง เช่น การใช้ปุ๋ยยูเรีย หรือสารไทโอยูเรีย อัตรา 800 g -1 กิโลกรัมผสมกับน้ำสะอาด 20 ลิตร ฉีดพ่นให้ใบร่วง โปรดศีกษาเพิ่มเติมแนวทางการใช้ ไทโอยูเรียกับมะกรูด มะนาวการใช้สารไทโอยูเรีย ชึ่งจัดเป็นสารอันตรายต่อระบบหายใจ และสิ่งแวดล้อม การนำไปใช้โปรดศึกษา รายละเอียดก่อนนำไปใช้กับพืชต่างๆ หรือประยุกต์ร่วมกับสารเคมีอื่นร่วมกัน มองหาไทโอยูเรีย ขนาด 1กิโลกรัม
ติดต่อสอบถาม คลิก.. สารเคมีลำไย